กระทรวง อว.

search

navmobiletoggle
  • About us
    • History
    • Vision Mission
    • Policy / Strategy
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • Mission Structure
    • Executive
    • Government Division
    • Government Weblink
    • Legal
    • CIO
  • Flagship Project
  • Scholarships
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • Service
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • News
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • Data Repository
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • Infographic
    • วีดิทัศน์
    • Mobile Application
  • ศูนย์บริการร่วม
--
+
A
กระทรวง อว.กระทรวง อว.
  • About us
    • History
    • Vision Mission
    • Policy / Strategy
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • Mission Structure
    • Executive
    • Government Division
    • Government Weblink
    • Legal
    • CIO
  • Flagship Project
  • Scholarships
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • Service
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • News
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • Data Repository
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • Infographic
    • วีดิทัศน์
    • Mobile Application
  • ศูนย์บริการร่วม

extenmenu

เมนู
  • Thai University Consortium
  • ห้องสมุด อว.
  • Search
  • คำถามที่พบบ่อย
  • แบบฟอร์มร้องเรียน
  • Contact
  • Sitemap
  • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
  • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ
Rectangle 150
  • Home
  • อว. พารอด
  • COVID InfoStatistic

อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 20 ตุลาคม ฉีดวัคซีนแล้ว 67,587,102 โดส และทั่วโลกแล้ว 6,733 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 468.46 ล้านโดส โดยกรุงเทพฯ ยังเป็นพื้ ...

  • Facebook
  • Twitter
  • Line
21 Oct 2021

246967246 4268135979978608 704313513517210814 n

247120281 4268136089978597 569876966155254006 n

247072086 4268135926645280 1865003296683095483 n

246902185 4268136369978569 864367682870654004 n

247131863 4268136319978574 1746649410171793172 n

246881219 4268136523311887 8593406161009246245 n

247007880 4268136673311872 3334435811616111167 n

246736027 4268136703311869 2089358052638330168 n

246736027 4268136839978522 8265444623395872617 n

246935072 4268136946645178 7323738168177208941 n

247002215 4268136993311840 1922197595626756460 n

246939935 4268137163311823 6292567500453504734 n

247576908 4268137363311803 626429307785709200 n

247210240 4268137343311805 4546563464204008150 n

247169013 4268137486645124 3473959266023479065 n

"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 20 ตุลาคม ฉีดวัคซีนแล้ว 67,587,102 โดส และทั่วโลกแล้ว 6,733 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 468.46 ล้านโดส โดยกรุงเทพฯ ยังเป็นพื้นที่ฉีดวัคซีนเข็ม 1 มากสุด (105.9%)
     ➡️(20 ตุลาคม 2564) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 6,733 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 29.9 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 409 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 189 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
      ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 468.46 ล้านโดส โดยกัมพูชาฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (80.6% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 174.41 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 20 ตุลาคม 2564 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 67,587,102 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 60.83%
? ในการฉีดวัคซีน จำนวน 6,733 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1. ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 20 ตุลาคม 2564
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 67,587,102 คน ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 38,611,193 โดส (58.3% ของประชากร)
-เข็มสอง 26,959,785 โดส (40.7% ของประชากร)
-เข็มสาม 2,016,124 โดส (3% ของประชากร)


2. อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.- 20 ต.ต. 64 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 67,587,102 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 994,781 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 798,756 โดส/วัน


3. อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 18,935,353 โดส
- เข็มที่ 2 3,521,259 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 10,575,934 โดส
- เข็มที่ 2 18,067,229 โดส
- เข็มที่ 3 1,518,865 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 6,381,098 โดส
- เข็มที่ 2 4,821,094 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 2,718,808 โดส
- เข็มที่ 2 550,203 โดส
- เข็มที่ 3 497,259 โดส


4. การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
- บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 123.5% เข็มที่2 120.1% เข็มที่3 91.8%
- เจ้าหน้าที่ด่านหน้า เข็มที่1 63.5% เข็มที่2 57.8% เข็มที่3 11.3%
- อสม เข็มที่1 74.3% เข็มที่2 67.2% เข็มที่3 8.8%
- ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 65.5% เข็มที่1 49.9% เข็มที่3 1.9%
- ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 50.9% เข็มที่2 33.9% เข็มที่3 1.9%
- ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 61.8% เข็มที่2 49.9% เข็มที่3 0.4%
- หญิงตั้งครรภ์ เข็มที่1 15% เข็มที่2 10.5% เข็มที่3 0.1%
- นักเรียน/นักศึกษา อายุ 12-17 ปี เข็มที่1 29.5% เข็มที่2 0.2% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 53.6% เข็มที่2 37.4% เข็มที่3 2.8%


5. %การฉีดวัคซีนพื้นที่นำร่องท่องเที่ยว
1. กรุงเทพมหานคร เข็มที่1 105.9% เข็มที่2 71.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 80.8% เข็มที่2 55.8%
2. ภูเก็ต เข็มที่1 81.8% เข็มที่2 76.8% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 71.9% เข็มที่2 68.5%
3. ชลบุรี เข็มที่1 77.1% เข็มที่2 57.7% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 72.3% เข็มที่2 57.9%
4. สมุทรปราการ เข็มที่1 71.3% เข็มที่2 53% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 91.2% เข็มที่2 72%
5. พังงา เข็มที่1 62.3% เข็มที่2 50.7% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 71.5% เข็มที่2 61.4%
6. ระนอง เข็มที่1 60.2% เข็มที่2 49.8% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 73.5% เข็มที่2 68.2%
7. เพชรบุรี เข็มที่1 57.3% เข็มที่2 43.1% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 62% เข็มที่2 53.3%
8. ระยอง เข็มที่1 55.9% เข็มที่2 40.1% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 61.5% เข็มที่2 50.1%
9. บุรีรัมย์ เข็มที่1 54.4% เข็มที่2 32.8% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 69.6% เข็มที่2 54.8%
10. กระบี่ เข็มที่1 52.8% เข็มที่2 37.8% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 68.3% เข็มที่2 46.8%
11. เชียงใหม่ เข็มที่1 52.8% เข็มที่2 36.4% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 64% เข็มที่2 53.5%
12. ประจวบคีรีขันธ์ เข็มที่1 53.2% เข็มที่2 42.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 65% เข็มที่2 58.3%
13. ตราด เข็มที่1 51.1% เข็มที่2 35.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 60.6% เข็มที่2 54.4%
14. สุราษฎร์ธานี เข็มที่1 47.6% เข็มที่2 37.2% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 66% เข็มที่2 57.5%
15. หนองคาย เข็มที่1 43.1% เข็มที่2 30% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 60.8% เข็มที่2 45.5%
16. อุดรธานี เข็มที่1 42.5%เข็มที่2 27.8% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 57.5% เข็มที่2 43.2%
17. เลย เข็มที่1 42.4% เข็มที่2 27.3% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 71% เข็มที่2 56.3%
รวม เข็มที่1 74.2% เข็มที่2 52.4% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 74% เข็มที่2 55.8%


6. ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 468,464,979 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 174,419,558 โดส (39.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. ไทย จำนวน 67,587,102 โดส (58.3%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
3. เวียดนาม จำนวน 64,992,488 โดส (47.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
4. ฟิลิปปินส์ จำนวน 53,315,069 โดส (25.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
5. มาเลเซีย จำนวน 48,181,111 (77.2%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
6. กัมพูชา จำนวน 27,939,405 โดส (80.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
7. พม่า จำนวน 15,797,703 โดส (20.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
8. สิงคโปร์ จำนวน 9,867,512 โดส (78.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
9. ลาว จำนวน 5,785,768 โดส (42.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 579,263 โดส (78.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร/2 เหมือนกันทุกประเทศ


7. จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 68.89%
2. ยุโรป 10.77%
3. อเมริกาเหนือ 9.53%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 7.20%
5. แอฟริกา 2.99%
6. โอเชียเนีย 0.61%


8. ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 2,232.09 ล้านโดส (79.7% ของจำนวนการฉีดทั่วโลก)
2. อินเดีย จำนวน 990.99 ล้านโดส (36.2%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 409.44 ล้านโดส (63.9%)
4. บราซิล จำนวน 258.82 ล้านโดส (62.6%)
5. ญี่ปุ่น จำนวน 180.98 ล้านโดส (71.7%)


9. ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. คิวบา (107.9%) (ฉีดวัคซีนของ Moderna, Pfizer/BioNTech, AstraZeneca/Oxford และ J&J)
2. มัลดีฟส์ (100.1% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
3. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (96.6%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
4. อุรุกวัย (92.5%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
5. บาห์เรน (91.6%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
6. ชิลี (89.3%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac
7. อิสราเอล (87.2%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
8. กาตาร์ (85.8%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
9. จีน (80.6%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac และ CanSino)
10. สิงคโปร์ (79.7%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ Sinovac)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)

ที่มา : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

เผยแพร่โดย : นางสาวสุวดี เหมือนอ้น
กลุ่มสื่อสารองค์กร กองกลาง
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
โทรศัพท์ 0 2333 3700 ต่อ 3880 โทรสาร 0 2333 3834
Facebook : @MHESIThailand
Twitter : @MHESIThailand
Call Center โทร.1313

สถานการณ์ รพ.สนาม ของ อว. (21 ตุลาคม 2564 ) สถานการณ์ รพ.สนาม ของ อว. (20 ตุลาคม 2564 )

กระทรวงการ อว.

  • อว.พารับส่วนลด
    • รวมรายการสินค้าและบริการ
    • ท่องเที่ยว
    • อาหาร
    • บริการ
    • ชอปปิง
  • User Menu (Discount)
    • เนื้อหาของฉัน
    • แก้ไขข้อมูลส่วนตัว
    • ออกจากระบบ
  • เมนูหลัก
    • Home
    • About us
      • History
      • Vision Mission
      • Policy / Strategy
      • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
      • Mission Structure
      • Executive
      • Government Division
      • Government Weblink
      • Legal
      • CIO
    • Flagship Project
    • Scholarships
      • ทุนกระทรวงทั้งหมด
      • ทุนพัฒนาอาจารย์
      • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
      • ทุนวิจัย
    • Service
      • บริการทั้งหมด
      • สถาบันอุดมศึกษา
      • นิสิต/นักศึกษา
      • อาจารย์
      • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
      • ผู้ประกอบการ
      • ภาครัฐ
    • News
      • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
      • ภาพข่าวและกิจกรรม
        • ข่าวรัฐมนตรี
        • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
        • ข่าวสารหน่วยงาน
      • ข่าวสารและประกาศ
        • ข่าวประกาศ
        • ประกาศงานบุคลากร
        • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
        • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
    • Data Repository
      • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
      • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
      • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
      • e-Book S&T Series
      • Infographic
      • วีดิทัศน์
      • Mobile Application
        • สำหรับ iOS
        • สำหรับ Andriod
    • ศูนย์บริการร่วม
      • ความเป็นมาศูนย์บริการประชาชน
      • รางวัลและผลงานเด่น
      • ติดต่อศูนย์บริการร่วม
      • สาระน่ารู้
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • Vision and Mission
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • กฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ข่าวผู้บริหาร
    • ข่าวสารหน่วยงาน
  • เมนูอื่นๆ
    • Thai University Consortium
    • ห้องสมุด อว.
    • Search
    • คำถามที่พบบ่อย
    • แบบฟอร์มร้องเรียน
    • Contact
    • Sitemap
    • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
    • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ

map แผนที่และการเดินทาง

faqคำถามที่พบบ่อย

faqเสนอแนะ/ร้องเรียน

faqแผนผังเว็บไซต์

กระทรวง อว.

แอปพลิเคชั่นทั้งหมดของกระทรวง

ios app andriod app 

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
เป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อขับเคลื่อนการอุดมศึกษาไทย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ไปสู่มาตรฐานในระดับสากล และเพิ่มอันดับความสามารถการแข่งขันในระดับนานาชาติอย่างยั่งยืน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์นี้ โปรดแจ้งให้ทราบ เพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.

WCAG 2.0 (Level AAA)

ติดตามเราได้ที่   facebook twitter youtube This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.