กระทรวง อว.

search

navmobiletoggle
  • About us
    • History
    • Vision Mission
    • Policy / Strategy
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • Mission Structure
    • Executive
    • Government Division
    • Government Weblink
    • Legal
    • CIO
  • Flagship Project
  • Scholarships
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • Service
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • News
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • Data Repository
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • Infographic
    • วีดิทัศน์
    • Mobile Application
  • ศูนย์บริการร่วม
--
+
A
กระทรวง อว.
  • About us
    • History
    • Vision Mission
    • Policy / Strategy
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • Mission Structure
    • Executive
    • Government Division
    • Government Weblink
    • Legal
    • CIO
  • Flagship Project
  • Scholarships
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • Service
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • News
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • Data Repository
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • Infographic
    • วีดิทัศน์
    • Mobile Application
  • ศูนย์บริการร่วม

extenmenu

เมนู
  • Thai University Consortium
  • ห้องสมุด อว.
  • Search
  • คำถามที่พบบ่อย
  • แบบฟอร์มร้องเรียน
  • Contact
  • Sitemap
  • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
  • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ
Rectangle 150
  • Home
  • ศูนย์บริการร่วม
  • สาระน่ารู้

รู้ไหมว่า...แสงซินโครตรอนไขโครงสร้าง “วัสดุสองมิติ” ที่บางระดับอะตอมได้

  • Facebook
  • Twitter
  • Line
26 Apr 2023

FB Bl3 2

       เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้วที่ อังเดร ไกม์ (Andre Geim) และ คอนสแตนติน โนโวเซลอฟ (Konstantin Novoselov) ได้รับรางวัลโนเบลจากการค้นพบสมบัติพิเศษของวัสดุสองมิติที่เรียกว่า กราฟีน (Graphene) ซึ่งมีสมบัติใหม่ที่ไม่เคยพบในวัสดุใดๆ มาก่อน โดยวัสดุดังกล่าวเกิดจากการเรียงตัวกันเป็นผลึกที่เป็นระเบียบในระนาบสองมิติของธาตุคาร์บอน ประกอบกับสมบัติทางควอนตัมของวัสดุที่มีความบางมากในระดับใกล้เคียงกับขนาดของอะตอมเดี่ยว

        การค้นพบของทั้งสองทำให้เกิดสาขางานวิจัยใหม่ ที่นักวิจัยต่างเน้นศึกษาวัสดุที่มีโครงสร้างแบบเดียวกันแต่ประกอบไปด้วยธาตุอื่นนอกจากคาร์บอน ทำให้เกิดวัสดุที่มีสมบัติใหม่ที่หลากหลาย นักวิจัยยังค้นพบว่า การนำวัสดุสองมิติหลายชนิดนั้นมาต่อทับกัน (Stacking) ทำให้เกิดการผสมและจับคู่สมบัติของวัสดุสองมิติแต่ละชนิด เกิดเป็นสมบัติใหม่ที่น่าจะนำไปพัฒนาเป็นวัสดุที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าวัสดุทั่วๆ ไปที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบัน

        แล้วทราบไหมว่าแสงซินโครตรอนช่วยอะไรได้? ทั้งนี้นักวิจัยที่พัฒนาวัสดุสองมิตินั้นต่างมีความสนใจในการใช้แสงซินโครตรอนที่มีพลังงานในช่วงรังสียูวีสุญญากาศ (VUV) และซอฟท์เอกซเรย์ (Soft X-ray) ในการศึกษาสมบัติของวัสดุ เนื่องจากเป็นช่วงแสงที่มีความไวอย่างมากต่อวัสดุที่มีความบาง ซึ่งแสงซินโครตรอนสามารถให้ข้อมูลว่า การนำวัสดุสองมิติหลายชนิดมาต่อกันนั้น ทำให้เกิดสมบัติใหม่ได้อย่างไร โดยใช้เทคนิคโฟโตอิมิชชัน (Photoemission) และการวัดการดูดกลืนของแสง เพื่อวัดการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างอิเล็กตรอน ที่อยู่ภายในวัสดุสองมิติแต่ละชนิด ทั้งก่อนและหลังการนำมาเชื่อมต่อกัน ทำให้ทราบได้ว่า องค์ประกอบทางเคมีหลังกระบวนการสร้างวัสดุสองมิติและโครงสร้างอิเล็กทรอนิกส์นั้น มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อการนำไปใช้งานอย่างไร

        สำหรับสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) มีความพร้อมในการให้บริการวิเคราะห์และศึกษาวัสดุสองมิติ โดยมีระบบลำเลียงแสงที่ 3.2U เป็นระบบลำเลียยงแสงที่เหมาะสมต่อการศึกษาวัสดุสองมิติได้หลากหลายชนิด และที่ผ่านมามีนักวิจัยจากทั่วโลก อาทิ ยุโรป จีน ญี่ปุ่น สิงคโปร์ และสหรัฐฯ ได้นำตัวอย่างวัสดุสองมิติมาศึกษาและทดลองที่สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอนอย่างต่อเนื่อง

ช่องทางติดต่อสำหรับผู้สนใจใช้บริการแสงซินโครตรอน
- ตัวแทนจากภาครัฐ สามารถติดต่อใช้บริการได้ที่ ส่วนบริการผู้ใช้ โทร.0-4421-7040 ต่อ 1603-1605 และอีเมล์ userservice@slri.or.th
- ตัวแทนจากภาคเอกชน สามารถติดต่อใช้บริการได้ที่ ส่วนบริการอุตสาหกรรมและสังคม โทร. 0-4421-7040 ต่อ 1607-1608 และ 1613 และอีเมล์ bds@slri.or.th

บทความโดย
ดร.ชนรรค์ เอื้อรักสกุล นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง

ที่มา : สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (สซ.)
https://www.slri.or.th/th/

 

เผยแพร่โดย : นางสาวสุวดี เหมือนอ้น
กลุ่มสื่อสารองค์กร (สอ.)
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
โทรศัพท์ 0 2333 3700 ต่อ 3880
E-mail : pr@mhesi.go.th
Facebook : @MHESIThailandth
Instagram : mhesi_thailand
Tiktok : mhesi_thailand
Twitter : @MHESIThailand

ต้นกาบหอยแครง ช่วยควบคุมประชากรแมลงในธรรมชาติ 3 นวัตกรรมเพื่อ 'ผู้สูงอายุ' และ 'ผู้ดูแล' โดย เอ็มเทค สวทช.

กระทรวงการ อว.

  • อว.พารับส่วนลด
    • รวมรายการสินค้าและบริการ
    • ท่องเที่ยว
    • อาหาร
    • บริการ
    • ชอปปิง
  • User Menu (Discount)
    • เนื้อหาของฉัน
    • แก้ไขข้อมูลส่วนตัว
    • ออกจากระบบ
  • เมนูหลัก
    • Home
    • About us
      • History
      • Vision Mission
      • Policy / Strategy
      • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
      • Mission Structure
      • Executive
      • Government Division
      • Government Weblink
      • Legal
      • CIO
    • Flagship Project
    • Scholarships
      • ทุนกระทรวงทั้งหมด
      • ทุนพัฒนาอาจารย์
      • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
      • ทุนวิจัย
    • Service
      • บริการทั้งหมด
      • สถาบันอุดมศึกษา
      • นิสิต/นักศึกษา
      • อาจารย์
      • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
      • ผู้ประกอบการ
      • ภาครัฐ
    • News
      • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
      • ภาพข่าวและกิจกรรม
        • ข่าวรัฐมนตรี
        • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
        • ข่าวสารหน่วยงาน
      • ข่าวสารและประกาศ
        • ข่าวประกาศ
        • ประกาศงานบุคลากร
        • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
        • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
    • Data Repository
      • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
      • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
      • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
      • e-Book S&T Series
      • Infographic
      • วีดิทัศน์
      • Mobile Application
        • สำหรับ iOS
        • สำหรับ Andriod
    • ศูนย์บริการร่วม
      • ความเป็นมาศูนย์บริการประชาชน
      • รางวัลและผลงานเด่น
      • ติดต่อศูนย์บริการร่วม
      • สาระน่ารู้
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • Vision and Mission
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • กฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ข่าวผู้บริหาร
    • ข่าวสารหน่วยงาน
  • เมนูอื่นๆ
    • Thai University Consortium
    • ห้องสมุด อว.
    • Search
    • คำถามที่พบบ่อย
    • แบบฟอร์มร้องเรียน
    • Contact
    • Sitemap
    • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
    • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ

map แผนที่และการเดินทาง

faqคำถามที่พบบ่อย

faqเสนอแนะ/ร้องเรียน

faqแผนผังเว็บไซต์

กระทรวง อว.

แอปพลิเคชั่นทั้งหมดของกระทรวง

ios app andriod app 

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
เป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อขับเคลื่อนการอุดมศึกษาไทย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ไปสู่มาตรฐานในระดับสากล และเพิ่มอันดับความสามารถการแข่งขันในระดับนานาชาติอย่างยั่งยืน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์นี้ โปรดแจ้งให้ทราบ เพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.

WCAG 2.0 (Level AAA)

ติดตามเราได้ที่   facebook twitter youtube This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.