กระทรวง อว.

search

navmobiletoggle
  • About us
    • History
    • Vision Mission
    • Policy / Strategy
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • Mission Structure
    • Executive
    • Government Division
    • Government Weblink
    • Legal
    • CIO
  • Flagship Project
  • Scholarships
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • Service
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • News
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • Data Repository
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • Infographic
    • วีดิทัศน์
    • Mobile Application
  • ศูนย์บริการร่วม
--
+
A
กระทรวง อว.กระทรวง อว.
  • About us
    • History
    • Vision Mission
    • Policy / Strategy
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • Mission Structure
    • Executive
    • Government Division
    • Government Weblink
    • Legal
    • CIO
  • Flagship Project
  • Scholarships
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • Service
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • News
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • Data Repository
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • Infographic
    • วีดิทัศน์
    • Mobile Application
  • ศูนย์บริการร่วม

extenmenu

เมนู
  • Thai University Consortium
  • ห้องสมุด อว.
  • Search
  • คำถามที่พบบ่อย
  • แบบฟอร์มร้องเรียน
  • Contact
  • Sitemap
  • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
  • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ
Rectangle 150
  • Home
  • อว. พารอด
  • COVID InfoStatistic

อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 18 ตุลาคม ฉีดวัคซีนแล้ว 65,677,794 โดส และทั่วโลกแล้ว 6,674 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 456.97 ล้านโดส โดยกรุงเทพฯ ยังเป็นพื้ ...

  • Facebook
  • Twitter
  • Line
19 Oct 2021

246806390 4262406687218204 4528293589652225453 n

246361351 4262407000551506 731646451323693108 n

246807734 4262406903884849 7293472031401423329 n

246761677 4262406943884845 8677519190389819835 n

246498801 4262407203884819 3741562535546879784 n

246988872 4262407327218140 4705797962409159142 n

246534127 4262407360551470 2764387631687236252 n

246709119 4262407753884764 8220653095823290723 n

246752816 4262407867218086 2502404231617085434 n

246138072 4262408007218072 1539717533094513733 n

246442198 4262408073884732 3811862472087513215 n

246761692 4262408150551391 5283737230775385719 n

246173749 4262408390551367 5926396917364730694 n

246522320 4262408463884693 21241454985620782 n

246639148 4262408530551353 5641499301592437972 n

"อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 18 ตุลาคม ฉีดวัคซีนแล้ว 65,677,794 โดส และทั่วโลกแล้ว 6,674 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 456.97 ล้านโดส โดยกรุงเทพฯ ยังเป็นพื้นที่ฉีดวัคซีนเข็ม 1 มากสุด (105%)
       ➡️(18 ตุลาคม 2564) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 6,674 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 26.3 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 407 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 189 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว"
       ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 456.97 ล้านโดส โดยกัมพูชาฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (80.4% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 171.16 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2564 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 65,677,794 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 60.66%
? ในการฉีดวัคซีน จำนวน 6,674 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1. ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 17 ตุลาคม 2564
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 65,677,794 คน ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 37,684,728 โดส (56.9% ของประชากร)
-เข็มสอง 26,042,573 โดส (39.3% ของประชากร)
-เข็มสาม 1,950,493 โดส (2.9% ของประชากร)


2. อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.- 17 ต.ต. 64 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 65,677,794 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 475,053 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 778,527 โดส/วัน


3. อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 18,563,304 โดส
- เข็มที่ 2 3,518,933 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 10,544,061 โดส
- เข็มที่ 2 17,397,913 โดส
- เข็มที่ 3 1,455,510 โดส
วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 6,289,403 โดส
- เข็มที่ 2 4,577,656 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 2,287,960 โดส
- เข็มที่ 2 548,071 โดส
- เข็มที่ 3 494,983 โดส


4. การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
- บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 123.5% เข็มที่2 119.9% เข็มที่3 91.6%
- เจ้าหน้าที่ด่านหน้า เข็มที่1 63.3% เข็มที่2 57.2% เข็มที่3 10.7%
- อสม เข็มที่1 73.9% เข็มที่2 66.2% เข็มที่3 8.3%
- ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 64.8% เข็มที่1 48.4% เข็มที่3 1.9%
- ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 49.5% เข็มที่2 32.5% เข็มที่3 1.8%
- ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 61.3% เข็มที่2 48.6% เข็มที่3 0.4%
- หญิงตั้งครรภ์ เข็มที่1 14.8% เข็มที่2 10.3% เข็มที่3 0.1%
- นักเรียน/นักศึกษา อายุ 12-17 ปี เข็มที่1 25.3% เข็มที่2 0.2% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 52.3% เข็มที่2 36.2% เข็มที่3 2.7%


5. %การฉีดวัคซีนพื้นที่นำร่องท่องเที่ยว
1. กรุงเทพมหานคร เข็มที่1 105% เข็มที่2 69.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 80.6% เข็มที่2 53.7%
2. ภูเก็ต เข็มที่1 81.4% เข็มที่2 76.7% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 71.7% เข็มที่2 68.4%
3. ชลบุรี เข็มที่1 75.6% เข็มที่2 55.2% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 71.8% เข็มที่2 56.6%
4. สมุทรปราการ เข็มที่1 70.8% เข็มที่2 51.1% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 91% เข็มที่2 69.5%
5. พังงา เข็มที่1 60.9% เข็มที่2 49.7% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 70.7% เข็มที่2 59.5%
6. ระนอง เข็มที่1 58.2% เข็มที่2 49.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 73.3% เข็มที่2 68%
7. เพชรบุรี เข็มที่1 56.4% เข็มที่2 41.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 61.5% เข็มที่2 52.2%
8. ระยอง เข็มที่1 54.9% เข็มที่2 38.4% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 61.1% เข็มที่2 48.8%
9. ประจวบคีรีขันธ์ เข็มที่1 51.6% เข็มที่2 37.1% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 67.6% เข็มที่2 46.2%
10. บุรีรัมย์ เข็มที่1 51.5% เข็มที่2 41.7% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 64.4% เข็มที่2 57.7%
11. เชียงใหม่ เข็มที่1 51.2% เข็มที่2 32.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 68% เข็มที่2 54.3%
12. ตราด เข็มที่1 50.6% เข็มที่2 34.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 62.9% เข็มที่2 52.5%
13. สุราษฎร์ธานี เข็มที่1 49.3% เข็มที่2 34.5% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 60.2% เข็มที่2 53.9%
16. กระบี่ เข็มที่1 46% เข็มที่2 36.7% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 65.3% เข็มที่2 57%
17. หนองคาย เข็มที่1 41.4% เข็มที่2 29.3% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 59.8% เข็มที่2 44.4%
18. อุดรธานี เข็มที่1 41%เข็มที่2 25.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 70% เข็มที่2 54.5%
19. เลย เข็มที่1 39.9% เข็มที่2 26.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 55.8% เข็มที่2 41.9%
รวม เข็มที่1 72.9% เข็มที่2 50.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 73.5% เข็มที่2 54.2%


6. ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 456,977,391 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 171,169,816 โดส (39.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. ไทย จำนวน 65,677,794 โดส (56.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
3. เวียดนาม จำนวน 60,518,594 โดส (44%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
4. ฟิลิปปินส์ จำนวน 52,303,905 โดส (25.3%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
5. มาเลเซีย จำนวน 47,838,886 (77.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
6. กัมพูชา จำนวน 27,642,746 โดส (80.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
7. พม่า จำนวน 15,797,703 โดส (20.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
8. สิงคโปร์ จำนวน 9,823,374 โดส (78.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
9. ลาว จำนวน 5,640,878 โดส (42.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 563,695 โดส (77%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร/2 เหมือนกันทุกประเทศ


7. จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 68.82%
2. ยุโรป 10.84%
3. อเมริกาเหนือ 9.55%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 7.22%
5. แอฟริกา 2.96%
6. โอเชียเนีย 0.61%


8. ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 2,229.21 ล้านโดส (79.6% ของจำนวนการฉีดทั่วโลก)
2. อินเดีย จำนวน 977.92 ล้านโดส (35.8%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 406.57 ล้านโดส (63.5%)
4. บราซิล จำนวน 257.80 ล้านโดส (62.3%)
5. ญี่ปุ่น จำนวน 178.26 ล้านโดส (70.6%)


9. ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. คิวบา (105.5%) (ฉีดวัคซีนของ Moderna, Pfizer/BioNTech, AstraZeneca/Oxford และ J&J)
2. มัลดีฟส์ (99.9% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
3. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (96.3%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
4. อุรุกวัย (92%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
5. บาห์เรน (91.2%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
6. ชิลี (89.3%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac
7. อิสราเอล (87%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
8. กาตาร์ (85.7%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
9. จีน (79.6%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac และ CanSino)
10. สิงคโปร์ (78.4%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ Sinovac)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)

 

ที่มา : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

เผยแพร่โดย : นางสาวสุวดี เหมือนอ้น
กลุ่มสื่อสารองค์กร กองกลาง
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
โทรศัพท์ 0 2333 3700 ต่อ 3880 โทรสาร 0 2333 3834
Facebook : @MHESIThailand
Twitter : @MHESIThailand
Call Center โทร.1313

สถานการณ์ รพ.สนาม ของ อว. (19 ตุลาคม 2564 ) "อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 17 ตุลาคม ฉีดวัคซีนแล้ว 65,202,741 โดส และทั่วโลกแล้ว 6,664 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 452.59 ล้านโดส โดยกรุงเทพฯ ยังเป็นพื้นที่ฉีดวัคซีนเข็ม 1 มากสุด (104.4%)

กระทรวงการ อว.

  • อว.พารับส่วนลด
    • รวมรายการสินค้าและบริการ
    • ท่องเที่ยว
    • อาหาร
    • บริการ
    • ชอปปิง
  • User Menu (Discount)
    • เนื้อหาของฉัน
    • แก้ไขข้อมูลส่วนตัว
    • ออกจากระบบ
  • เมนูหลัก
    • Home
    • About us
      • History
      • Vision Mission
      • Policy / Strategy
      • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
      • Mission Structure
      • Executive
      • Government Division
      • Government Weblink
      • Legal
      • CIO
    • Flagship Project
    • Scholarships
      • ทุนกระทรวงทั้งหมด
      • ทุนพัฒนาอาจารย์
      • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
      • ทุนวิจัย
    • Service
      • บริการทั้งหมด
      • สถาบันอุดมศึกษา
      • นิสิต/นักศึกษา
      • อาจารย์
      • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
      • ผู้ประกอบการ
      • ภาครัฐ
    • News
      • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
      • ภาพข่าวและกิจกรรม
        • ข่าวรัฐมนตรี
        • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
        • ข่าวสารหน่วยงาน
      • ข่าวสารและประกาศ
        • ข่าวประกาศ
        • ประกาศงานบุคลากร
        • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
        • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
    • Data Repository
      • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
      • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
      • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
      • e-Book S&T Series
      • Infographic
      • วีดิทัศน์
      • Mobile Application
        • สำหรับ iOS
        • สำหรับ Andriod
    • ศูนย์บริการร่วม
      • ความเป็นมาศูนย์บริการประชาชน
      • รางวัลและผลงานเด่น
      • ติดต่อศูนย์บริการร่วม
      • สาระน่ารู้
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • Vision and Mission
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • กฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ข่าวผู้บริหาร
    • ข่าวสารหน่วยงาน
  • เมนูอื่นๆ
    • Thai University Consortium
    • ห้องสมุด อว.
    • Search
    • คำถามที่พบบ่อย
    • แบบฟอร์มร้องเรียน
    • Contact
    • Sitemap
    • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
    • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ

map แผนที่และการเดินทาง

faqคำถามที่พบบ่อย

faqเสนอแนะ/ร้องเรียน

faqแผนผังเว็บไซต์

กระทรวง อว.

แอปพลิเคชั่นทั้งหมดของกระทรวง

ios app andriod app 

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
เป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อขับเคลื่อนการอุดมศึกษาไทย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ไปสู่มาตรฐานในระดับสากล และเพิ่มอันดับความสามารถการแข่งขันในระดับนานาชาติอย่างยั่งยืน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์นี้ โปรดแจ้งให้ทราบ เพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.

WCAG 2.0 (Level AAA)

ติดตามเราได้ที่   facebook twitter youtube This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.