กระทรวง อว.

search

navmobiletoggle
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • ​กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • โครงการกระทรวง
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • บริการ
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • ข่าวและประกาศ
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • คลังข้อมูล
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • อินโฟกราฟิก
    • วีดิทัศน์
    • โมไบล์แอปพลิเคชัน
  • ศูนย์บริการร่วม
--
+
A
กระทรวง อว.
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • ​กฎหมาย/กฎเกณฑ์
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • โครงการกระทรวง
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • บริการ
    • บริการทั้งหมด
    • สถาบันอุดมศึกษา
    • นิสิต/นักศึกษา
    • อาจารย์
    • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
    • ผู้ประกอบการ
    • ภาครัฐ
  • ข่าวและประกาศ
    • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
      • ข่าวรัฐมนตรี
      • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
      • ข่าวสารหน่วยงาน
    • ข่าวสารและประกาศ
      • ข่าวประกาศ
      • ประกาศงานบุคลากร
      • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
      • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
  • คลังข้อมูล
    • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
    • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
    • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
    • e-Book S&T Series
    • อินโฟกราฟิก
    • วีดิทัศน์
    • โมไบล์แอปพลิเคชัน
  • ศูนย์บริการร่วม

extenmenu

เมนู
  • Thai University Consortium
  • ห้องสมุด อว.
  • ค้นหา
  • คำถามที่พบบ่อย
  • แบบฟอร์มร้องเรียน
  • ติดต่อกระทรวง
  • แผนผังเว็บไซต์
  • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
  • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ
Rectangle 150
  • หน้าแรก
  • ภาพข่าวและกิจกรรม
  • ข่าวสารหน่วยงาน

วัคซีนโควิด – 19

  • Facebook
  • Twitter
  • Line
14 ม.ค. 2564

2020 11 09T114528Z 401439984 RC2NZJ9UB98H RTRMADP 3 HEALTH CORONAVIRUS VACCINES PFIZER

โควิด – 19 โรคระบาดใหญ่ที่เกิดจากเชื้อไวรัสสายพันธุ์ SARS-CoV-2 ที่คร่าวชีวิตผู้คนไปเป็นจำนวนมาก ทำให้นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกต่างเร่งคิดค้นและผลิตวัคซีนในระดับที่ไม่เคยมีมาก่อน และได้เริ่มใช้วัคซีนป้องกันโควิดในบางประเทศเป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยในช่วงต้นเดือนธันวาคมที่ผ่านมา อังกฤษเป็นประเทศแรก รวมถึงแคนาดาที่ประกาศใช้วัคซีนโควิดที่ผลิตจากบริษัท Pfizer-BioNTech อย่างเป็นทางการ ตามด้วยบาห์เรน, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ที่อนุมัติการใช้วัคซีนโควิดที่ผลิตจากบริษัท Sinopharm ของจีน และสหรัฐฯ ประกาศใช้วัคซีนโควิดที่ผลิตจากบริษัท Pfizer-BioNTech อย่างเป็นทางการเช่นเดียวกัน (https://www.nature.com/articles/d41586-020-03563-z) เรามารู้จักวัคซีนโควิดและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน

ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย

ร่างกายของคนเราจะมีต่อสู้กับเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย เมื่อเชื้อโรค เช่น ไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคโควิดเข้ามารุกราน หรือที่เรียกว่าการติดเชื้อนั้น ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจะเข้าโจมตีเชื้อและเพิ่มจำนวนมากขึ้นเพื่อต่อสู้กับเชื้อที่เข้ามารุกราน โดยฮีโร่หลักในระบบภูมิคุ้มกันคือ เซลล์เม็ดเลือดขาว ที่ผลิตและต่อสู้กับการติดเชื้อในรูปแบบต่างๆ:

o  Macrophages เป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวที่กลืนและย่อยเซลล์เชื้อโรค รวมถึง เซลล์ที่กำลังจะตายหรือที่ตายแล้ว โดย Macrophages จะทิ้งส่วนของเชื้อโรคที่บุกรุก หรือเรียกว่าแอนติเจนไว้ เพื่อให้ร่างกายจดจำว่า แอนติเจนนี้เป็นอันตรายและกระตุ้นให้ร่างกายผลิตแอนติบอดีโจมตี

o  B-lymphocytes เป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ทำหน้าที่ป้องกัน โดยผลิตแอนติบอดีที่โจมตีชิ้นส่วนของไวรัสที่ Macrophages ทิ้งไว้

o  T-lymphocytes เป็นอีกประเภทของเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ทำหน้าที่ป้องกัน โดยโจมตีเซลล์ในร่างกายที่ติดเชื้อแล้ว

สำหรับผู้ที่ติดเชื้อ ร่างกายอาจต้องใช้เวลาหลายวันหรือหลายสัปดาห์ในการสร้างและให้เวลากับเม็ดเลือดขาวเหล่านี้ต่อสู้กับเชื้อโรค ซึ่งหลังจากการติดเชื้อ ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจะจดจำเชื้อโรค และวิธีป้องกันร่างกายจากโรคนั้น ร่างกายจะเก็บ T-lymphocytes ไว้ 2 – 3 เซลล์ที่เรียกว่า เซลล์ความจำ (memory cells) หากร่างกายติดเชื้อตัวเดิมอีกครั้ง หรือตรวจพบแอนติเจนที่เคยเจอมาก่อน B-lymphocytes จะสร้างแอนติบอดีเข้าโจมตีอย่างรวดเร็ว แต่ทั้งนี้ สำหรับเชื้อไวรัสโควิด – 19 ผู้เชี่ยวชาญยังคงศึกษาว่าเซลล์ความจำสามารถปกป้องบุคคลจากไวรัสที่เป็นสาเหตุของโควิด – 19 ได้นานเพียงใด

วัคซีนทำงานอย่างไร

การฉีดวัคซีนเป็นที่ทราบโดยทั่วไป คือ การกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคโดยที่เราไม่ต้องเจ็บป่วย วัคซีนประเภทต่างๆ ทำงานในรูปแบบที่แตกต่างกัน แต่สิ่งที่เหมือนกันคือ วัคซีนทุกประเภทจะช่วยให้ร่างกายผลิตเซลล์เม็ดเลือดขาว และเหลือ T-lymphocytes เป็นหน่วยความจำ และ B-lymphocytes ซึ่งจะจดจำวิธีต่อสู้กับเชื้อนั้นในอนาคต

โดยปกติร่างกายจะใช้เวลา 2 – 3 สัปดาห์ในการผลิต T-lymphocytes และ B-lymphocytes หลังการฉีดวัคซีน ดังนั้น จึงมีความเป็นไปได้ที่คนเราอาจติดเชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุของโควิด – 19 ก่อนหรือหลังฉีดวัคซีนแล้วป่วยเนื่องจากวัคซีนไม่มีเวลาเพียงพอในการป้องกัน หรือในบางรายหลังการฉีดวัคซีน กระบวนการสร้างภูมิคุ้มกันอาจทำให้เกิดอาการ เช่น มีไข้ อาการเหล่านี้ถือเป็นเรื่องปกติและเป็นสัญญาณว่าร่างกายกำลังสร้างภูมิคุ้มกัน

ประเภทของวัคซีนโควิด – 19

ปัจจุบันวัคซีนโควิด – 19 มีอยู่ 3 ประเภทหลักที่กำลังอยู่ระหว่างการทดลองทางคลินิก ระยะที่ 3 ในสหรัฐฯ โดยวัคซีนทั้ง 3 ประเภทนี้กระตุ้นให้ร่างกายของเรารับรู้และปกป้องเราจากไวรัสที่เป็นสาเหตุของโควิด – 19 โดยไม่ก่อให้เกิดโรคจากการฉีดวัคซีน

Ø mRNA vaccines ผลิตจากชิ้นส่วนสารพันธุกรรมที่เป็นลักษณะเฉพาะของไวรัส เมื่อฉีดเข้าไปในร่างกาย จะกระตุ้นให้ภูมิคุ้มกันของผู้รับวัคซีนสร้างแอนติบอดีที่ใช้ต่อสู้กับเชื้อไวรัสได้

Ø Protein subunit vaccines เป็นการใช้โปรตีนที่ไม่เป็นอันตรายบางส่วนของเชื้อ เมื่อฉีดเข้าไปในร่างกาย ระบบภูมิคุ้มกันจะตรวจพบว่าไม่ใช่ชิ้นส่วนโปรตีนของร่างกาย และจะเริ่มสร้างแอนติบอดีต่อสู้กับเชื้อไวรัส

Ø Vector vaccines โดยแทรกสารพันธุกรรมจากไวรัสที่ทำให้เกิดโควิด – 19 เข้าไปในไวรัสที่อ่อนแอและไม่เป็นอันตราย (ซึ่งเป็นไวรัสคนละตัวกับไวรัสที่ทำให้เกิดโควิด – 19) ซึ่งกระบวนการนี้เรียกว่า viral vector และเมื่อร่างกายได้รับวัคซีนนี้เข้าไป จะสร้างแอนติบอดีเช่นเดียวกับวัคซีน 2 ประเภทข้างต้น

การพัฒนาวัคซีนโควิดที่มีประสิทธิภาพสูงในระยะเวลาอันสั้นนี้ เป็นเรื่องที่น่าทึ่งสำหรับความสามารถของนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในปัจจุบัน ถึงแม้ว่า วัคซีนจะมีบทบาทสำคัญในการยับยั้งการแพร่ระบาดนี้ แต่ทั้งนี้ หน่วยงานทางด้านสาธารณสุขยังคงย้ำให้รักษามาตรการป้องกันอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากาก และการรักษาระยะห่างทางสังคม เป็นต้น ซึ่งยังเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยลดโอกาสที่จะสัมผัสกับไวรัสหรือแพร่กระจายไปยังผู้อื่น

ความสำเร็จในการพัฒนาวัคซีนโควิด – 19 ต้องยกย่องให้กับความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ที่ทำให้มีการคิดค้นวัคซีนขึ้นในเวลาอันรวดเร็ว ที่ดูเหมือนจะเป็นข่าวดีสำหรับทั่วโลก วัคซีนจะช่วยป้องกันและลดความตึงเครียดของสถานการณ์ในปัจจุบันแต่ทั้งนี้ วัคซีนจึงยังไม่ใช่คำตอบสุดท้ายของการแก้ไขปัญหา WHO ได้เปิดเผยว่า เชื้อโควิด – 19 อาจอยู่ร่วมกับมนุษย์เราตลอดไป ถ้าแม้ว่าจะมีการค้นพบวัคซีนป้องกันโควิด – 19 แล้วก็ตาม ในขณะนี้ ยังไม่มีใครรู้ว่าภูมิคุ้มกันจากวัคซีนจะอยู่ยาวนานเพียงใด เราต้องฉีดวัคซีนกระตุ้นทุกปีเช่นเดียวกันไข้หวัดใหญ่หรือไม่ แต่สิ่งที่ต้องเร่งดำเนินการในตอนนี้ คือ การควบคุมการแพร่ระบาดของโรค การต่อสู้กับเชื้อโควิด – 19  ยังไม่จบลงง่ายๆ นักวิทยาศาสตร์ยังคงต้องพัฒนาและหาคำตอบอีกมากมาย เพื่อก้าวให้ทันตามการเปลี่ยนแปลงของเชื้อไวรัส

 

ที่มา : สำนักงานที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน

อ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://ostdc.org/th/news/covid-19-vaccine

วศ.พัฒนาห้องปฏิบัติการทดสอบคุณภาพน้ำเสริมการวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนักในน้ำ สกสว. ดันเครื่องสำอางจากข้าวทับทิมชุมแพ เตรียมขอเครื่องหมายฮาลาลขยายกลุ่มลูกค้า
  • รายงานสถานการณ์โรงไฟฟ้านิวเคลี ...
    ข่าวสารหน่วยงาน
    รายงานสถานการณ์โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ กรณีการเกิดแผ่นไหวในประเทศญี่ปุ่น
    04 ม.ค. 2567
    GISTDA และ JAXA ลงนาม MOU การใ ...
    ภาพข่าวและกิจกรรม
    GISTDA และ JAXA ลงนาม MOU การใช้ประโยชน์อวกาศส่วนนอกเพื่อวัตถุประสงค์ในทางสันติ
    03 ธ.ค. 2562
    วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแป ...
    ข่าวสารหน่วยงาน
    วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี
    10 ส.ค. 2563
    ดูทั้งหมด >

เรื่องล่าสุด

“อว. Job Fair 2025” ปิดฉากอย่า ...
ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
“อว. Job Fair 2025” ปิดฉากอย่างคึกคัก วันที่สามคนแน่นงาน กระตุ้นเศรษฐกิจและการจ้างงานทั่วประเทศ
11 พ.ค. 2568
“สุชาดา” เลขาฯ รมว.อว. ร่วมพิธ ...
ข่าวรัฐมนตรี ศุภมาส
“สุชาดา” เลขาฯ รมว.อว. ร่วมพิธีวางพานพุ่มอนุสาวรีย์ ศ.ดร.ปรีดี พนมยงค์ และพิธีมอบโล่รางวัล-ทุน ในงาน...
11 พ.ค. 2568
“ศุภมาส” เดินเกมรุกจัดงาน “อว. ...
ข่าวรัฐมนตรี ศุภมาส
“ศุภมาส” เดินเกมรุกจัดงาน “อว. Job Fair 2025” ยิ่งใหญ่กลางกรุง ตลาดอาชีพเพื่ออนาคต ชูเป้าหมายเปลี่ยน...
10 พ.ค. 2568

กระทรวงการ อว.

  • อว.พารับส่วนลด
    • รวมรายการสินค้าและบริการ
    • ท่องเที่ยว
    • อาหาร
    • บริการ
    • ชอปปิง
  • User Menu (Discount)
    • เนื้อหาของฉัน
    • แก้ไขข้อมูลส่วนตัว
    • ออกจากระบบ
  • เมนูหลัก
    • หน้าหลัก
    • แนะนำหน่วยงาน
      • ความเป็นมา
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
      • เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวง
      • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
      • ผู้บริหารกระทรวง
      • การแบ่งส่วนราชการ
      • ลิงก์หน่วยงาน
      • ​กฎหมาย/กฎเกณฑ์
      • เกี่ยวกับซีไอโอ
    • โครงการกระทรวง
    • ทุนกระทรวง
      • ทุนกระทรวงทั้งหมด
      • ทุนพัฒนาอาจารย์
      • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
      • ทุนวิจัย
    • บริการ
      • บริการทั้งหมด
      • สถาบันอุดมศึกษา
      • นิสิต/นักศึกษา
      • อาจารย์
      • นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย
      • ผู้ประกอบการ
      • ภาครัฐ
    • ข่าวและประกาศ
      • ประมวลภาพกิจกรรม "น้อมรำลึก ในหลวง ร.9"
      • ภาพข่าวและกิจกรรม
        • ข่าวรัฐมนตรี
        • ข่าวผู้บริหาร สป.อว.
        • ข่าวสารหน่วยงาน
      • ข่าวสารและประกาศ
        • ข่าวประกาศ
        • ประกาศงานบุคลากร
        • ข่าวประชุม อบรม สัมนา
        • ข่าวสารน่าสนใจ [พรบ.ข่าวสาร]
    • คลังข้อมูล
      • เอกสารเผยแพร่กระทรวง
      • เอกสารเผยแพร่จากภายนอก
      • e-Book เพราะเธอเป็นลมหายใจ
      • e-Book S&T Series
      • อินโฟกราฟิก
      • วีดิทัศน์
      • โมไบล์แอปพลิเคชัน
        • สำหรับ iOS
        • สำหรับ Andriod
    • ศูนย์บริการร่วม
      • ความเป็นมาศูนย์บริการประชาชน
      • รางวัลและผลงานเด่น
      • ติดต่อศูนย์บริการร่วม
      • สาระน่ารู้
  • แนะนำหน่วยงาน
    • ความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • นโยบาย/ยุทธศาสตร์กระทรวง
    • โครงสร้างภารกิจกระทรวง
    • ผู้บริหารกระทรวง
    • การแบ่งส่วนราชการ
    • ลิงก์หน่วยงาน
    • กฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
    • เกี่ยวกับซีไอโอ
  • ทุนกระทรวง
    • ทุนกระทรวงทั้งหมด
    • ทุนพัฒนาอาจารย์
    • ทุนสำหรับนิสิต/นักศึกษา
    • ทุนวิจัย
  • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ภาพข่าวและกิจกรรม
    • ข่าวผู้บริหาร
    • ข่าวสารหน่วยงาน
  • เมนูอื่นๆ
    • Thai University Consortium
    • ห้องสมุด อว.
    • ค้นหา
    • คำถามที่พบบ่อย
    • แบบฟอร์มร้องเรียน
    • ติดต่อกระทรวง
    • แผนผังเว็บไซต์
    • สถิติการเข้าชมเว็บไซต์
    • เข้าสู่ระบบ/ออกจากระบบ

map แผนที่และการเดินทาง

faqคำถามที่พบบ่อย

faqเสนอแนะ/ร้องเรียน

faqแผนผังเว็บไซต์

กระทรวง อว.

แอปพลิเคชั่นทั้งหมดของกระทรวง

ios app andriod app 

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
เป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อขับเคลื่อนการอุดมศึกษาไทย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ไปสู่มาตรฐานในระดับสากล และเพิ่มอันดับความสามารถการแข่งขันในระดับนานาชาติอย่างยั่งยืน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์นี้ โปรดแจ้งให้ทราบ เพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.

WCAG 2.0 (Level AAA)

ติดตามเราได้ที่   facebook twitter youtube This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

© 2020 Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.